ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของ จ.สุราษฎร์ธานี

วิชชุตา ให้เจริญ: ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของ จ.สุราษฎร์ธานี. 2015.

Abstract

งานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว : กรณีศึกษาอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี” มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุย และ 2) ศึกษาแนวทางการปรับตัวการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเกาะสมุย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ (Non-Structural) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) การจักสนทนากลุ่มแบบเจาะจง (Focus Group) และการจัดเวทีประชุม เป็นเครื่องมือในการวิจัย กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาไว้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว ได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจที่พักโรงแรม ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจจำหน่ายของที่ระลึก 2) กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น 3) กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเกาะสมุย และ 4) กลุ่มหน่วยงานที่มีส่วนสนับสนุนและมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการท่องเที่ยวในเกาะสมุย
ผลการวิจัย พบว่า ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุยนั้น ยังมีผลกระทบไม่มากนัก และยังไม่มีการลดลงของนักท่องเที่ยวอันเป็นผลจากภาวะโลกร้อนโดยตรง การดำเนินการด้านอุตสาหกรรมท่อเที่ยวยังมุ่งเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยไม่มีการพิจารณาถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนเท่าที่ควร ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความก้าวหน้าและการขยายตัวทางเศรษฐกิจแทบไม่เห็นความสำคัญของภาวะโลกร้อนเลย สำหรับการปรับตัวรับมือกับภาวะโลกร้อนนั้น มีการปรับตัวรับมือกับปัญหานี้น้อยมาก เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องใกล้ตัว แม้จะมีการปรับตัวอยู่บ้างก็เป็นการปรับตัวเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่สัมพันธ์กับการขยายตัวของเศรษฐกิจเป็นหลัก อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุย จึงไม่เห็นความสำคัญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว
ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป คือ 1) ควรศึกษาวิจัยว่าการพัฒนาในภาคของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้สร้างปัญหาหรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนมากน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ 2) ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการรักษาระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว เพื่อรักษาวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเหล่านั้นในการดำรงชีวิต และ 3) ควรศึกษาวิจัยว่า เหตุใดความเห็นของการพัฒนาส่วนใหญ่จึงให้ความสำคัญกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมากกว่าความยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม

Research concerning “The Global Warming Effect to Tourism Industry: A Case Study in Koh Samui, Suratthani Province”. The objiective of this study to educate the both of Global Warming effect and adaptation to tourism management at Samui island base on qualitative research system related to non-structural, in-dept interview focus group and meetimg. Sampling population size specify 4 groups are local entrepreneur such as transportation, accommodation, restaurant, tour operation and souvenir business, local community groups, tourist at Koh Samui as well as supported institute in tourism industry groups, tourist at Koh Samui as well as supported institute in tourism management at Koh Samui.
Research resuit to relatively few of the Global Warming effect to tourism industry in Koh Samui and no reduction tourist from the Global Warming. Tourism industry operating still focus on economic growth without consider about The Global Warming effect. In term of adaptation of representative sample also cope with minus because its distance however, they are determined create of appearance about tourism industry.
Research suggestion in 3 topic are 1) the new researcher should be educate about tourism industry development involve in effected to The Global Warming 2) should be the way to save the both of ecology system and environmental in tourism area 3X should be the season of almost in development of forward economic prefer to social and environment sustainable.




    BibTeX (Download)

    @book{ให้เจริญ2015,
    title = {ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของ จ.สุราษฎร์ธานี},
    author = {วิชชุตา ให้เจริญ},
    year  = {2015},
    date = {2015-01-01},
    abstract = {งานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว : กรณีศึกษาอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี” มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุย และ 2) ศึกษาแนวทางการปรับตัวการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเกาะสมุย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ (Non-Structural) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) การจักสนทนากลุ่มแบบเจาะจง (Focus Group) และการจัดเวทีประชุม เป็นเครื่องมือในการวิจัย กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาไว้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว ได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจการขนส่ง ธุรกิจที่พักโรงแรม ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจจำหน่ายของที่ระลึก 2) กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น 3) กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเกาะสมุย และ 4) กลุ่มหน่วยงานที่มีส่วนสนับสนุนและมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการท่องเที่ยวในเกาะสมุย
    	ผลการวิจัย พบว่า ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุยนั้น ยังมีผลกระทบไม่มากนัก และยังไม่มีการลดลงของนักท่องเที่ยวอันเป็นผลจากภาวะโลกร้อนโดยตรง การดำเนินการด้านอุตสาหกรรมท่อเที่ยวยังมุ่งเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยไม่มีการพิจารณาถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนเท่าที่ควร ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความก้าวหน้าและการขยายตัวทางเศรษฐกิจแทบไม่เห็นความสำคัญของภาวะโลกร้อนเลย สำหรับการปรับตัวรับมือกับภาวะโลกร้อนนั้น มีการปรับตัวรับมือกับปัญหานี้น้อยมาก เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องใกล้ตัว แม้จะมีการปรับตัวอยู่บ้างก็เป็นการปรับตัวเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่สัมพันธ์กับการขยายตัวของเศรษฐกิจเป็นหลัก อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเกาะสมุย จึงไม่เห็นความสำคัญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว
    	ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป คือ 1) ควรศึกษาวิจัยว่าการพัฒนาในภาคของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้สร้างปัญหาหรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนมากน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ 2) ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการรักษาระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว เพื่อรักษาวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นที่ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมเหล่านั้นในการดำรงชีวิต และ 3) ควรศึกษาวิจัยว่า เหตุใดความเห็นของการพัฒนาส่วนใหญ่จึงให้ความสำคัญกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมากกว่าความยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม
    
    Research concerning “The Global Warming Effect to Tourism Industry: A Case Study in Koh Samui, Suratthani Province”. The objiective of this study to educate the both of Global Warming effect and adaptation to tourism management at Samui island base on qualitative research system related to non-structural, in-dept interview focus group and meetimg. Sampling population size specify 4 groups are local entrepreneur such as transportation, accommodation, restaurant, tour operation and souvenir business, local community groups, tourist at Koh Samui as well as supported institute in tourism industry groups, tourist at Koh Samui as well as supported institute in tourism management at Koh Samui.
    	Research resuit to relatively few of the Global Warming effect to tourism industry in Koh Samui and no reduction tourist from the Global Warming. Tourism industry operating still focus on economic growth without consider about The Global Warming effect. In term of adaptation of representative sample also cope with minus because its distance however, they are determined create of appearance about tourism industry.
    	Research suggestion in 3 topic are 1)  the new researcher should be educate about tourism industry development involve in effected to The Global Warming 2) should be the way to save the both of ecology system and environmental in tourism area 3X should be the season of almost in development of forward economic prefer to social and environment sustainable.
    
    
    
    
    },
    keywords = {Research result, ภาวะโลกร้อน, สุราษฎร์ธานี, อุตสาหกรรมท่องเที่ยว},
    pubstate = {published},
    tppubtype = {book}
    }